วันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2558

Mg + 2HCl ---> MgCl(2) + H(2)

ออกแบบผลการทดลอง

ตอนที่ 1 ศึกษาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจรของปฏิกิริยาระหว่างลวดแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เมื่อเวลาผ่านไป
ตัวแปรต้น  ระยะเวลา
ตัวแปรตาม อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน
ตัวแปรควบคุม พื้นที่หน้าตัดของลวดแม็กนีเซียม ,ความเข้มข้นของ HCl ,ตัวหน่วงปฏิกิริยา ,อุณหภูมิของสารละลายกรด HCl

ที่เวลาเริ่มต้น

วัดเวลาเมื่อสารละลายกรดปริมาตรลดลงทุกๆ 1 cc
ตอนที่ 2  ศึกษาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนจากปฏิกิริยาระหว่างลวดแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกที่อุณหภูมิต่างกัน
ตัวแปรต้น อุณหภูมิของ สารละลายกรด HCl
ตัวแปรตาม อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจน
ตัวแปรควบคุม พื้นที่หน้าตัดของลวดแม็กนีเซียม ,ความเข้มข้นของ HCl ,ตัวหน่วงปฏิกิริยา

เวลาเริ่มต้น



วัดเวลาเมื่อแต่ละกระบอกตวงมีปริมาตรสารละลายลดลงไป 4 cc  



ตอนที่ 3 ศึกษาและเปรียบเทียบพื้นที่ผิวของลวดแม็กนีเซียมต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่าง ลวดแมกนีเซียมกับ HCl ในระบบปิด
ตัวแปรต้น พื้นที่ผิวของลวดแม็กนีเซียม
ตัวแปรตาม อัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่าง ลวดแม็กนีเซียมกับ HCl ในระบบปิด
ตัวแปรควบคุม อุณหภูมิของสารละลายกรด HCl,ความเข้มข้นของ HCl ,ตัวหน่วงปฏิกิริยา

ที่เวลาเริ่มต้น






วัดเวลาเมื่อแต่ละกระบอกตวงมีปริมาตรสารละลายลดลงไป 4 cc  


ตอนที่ 4 ศึกษาและเปรียบเทียบตัวหน่วงปฏิกิริยาโดยใช้ NaOH ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่างลวดแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกในระบบปิด
ตัวแปรต้น ตัวหน่วงปฎิกิริยา
ตัวแปรตาม อัตราการเกิดปฎิกิริยาระหว่างลวดแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกในระบบปิด
ตัวแปรควบคุม อุณหภูมิของสารละลายกรด HCl,ความเข้มข้นของ HCl, พื้นที่หน้าตัดของลวดแม็กนีเซียม

ที่เวลาเริ่มต้น




วัดเวลาเมื่อแต่ละกระบอกตวงมีปริมาตรสารละลายลดลงไป 4 cc




ตอนที่ 5 ศึกษาอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนจากปฏิกิริยาระหว่างลวดแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกที่ความเข้มข้นหน่วยโมล่าแตกต่างกัน
ตัวแปรต้น ความเข้มข้นของกรด HCl
ตัวแปรตาม อัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่าง ลวดแม็กนีเซียมกับ HCl ในระบบปิด
ตัวแปรควบคุม อุณหภูมิของสารละลายกรด HCl,ความเข้มข้นของ HCl ,ตัวหน่วงปฏิกิริยา พื้นที่หน้าตัดลวดแมกนีเซียม
ที่เวลาเริ่มต้น







วัดเวลาเมื่อแต่ละกระบอกตวงมีปริมาตรสารละลายลดลงไป 4 cc










ไม่มีความคิดเห็น: